วันพุธที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2566
วันอังคารที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2566
วันจันทร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2566
วันอาทิตย์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2566
วันศุกร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2566
วันเสาร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2566
วันพฤหัสบดีที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2566
พระสมเด็จวัดระฆังยุคต้น องค์พระกดพิมพ์ไว้ไม่ชัดเจน เข้าใจว่าเป็นพิมพ์ทรงเจดีย์ หรือในสมัยของท่านสมเด็จโตเรียกว่า "พิมพ์พระประธาน" ช่างชาวบ้านเป็นผู้แกะแม่พิมพ์ถวาย ดูไม่สมมาตร การตัดขอบไม่งามเหมือนงานช่างหลวง เท่าที่พบพระยุคต้นแม่พิมพ์ที่แกะโดยช่างสิบหมู่ก็มีอยู่เช่นกัน สำหรับเนื้อพระองค์นี้เป็นเนื้อผงพุทธคุณผสมข้าวสุก มีมวลสารหลักที่เห็นชัดคือ แร่โพรงเหล็กไหล หรือแร่ดอกมะขาม ที่เรียกเป็นทางการว่าแร่เฮมาไทดฺ์ (Haematite) ที่ใส่ในพระกรุเมืองกำแพงเพชร เช่นพระซุ้มกอ พระลีลาเม็ดขนุนเป็นต้น แร่โพรงเหล็กไหล หรือแร่ดอกมะขามมีในพระสมเด็จยุคต้นมากกว่าพระยุคกลาง และปลายซึ่งมีผสมไว้ในเนื้อพระเช่นกันแต่น้อย เชื่อกันว่าแร่โพรงเหล็กไหลนี้ให้คุณทางด้านอยู่ยงคงกระพัน.
วันพุธที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2566
วันอังคารที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2566
พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ฐานแซม เนื้อผงผสมเทียนชัย ช่างหลวงแกะแม่พิมพ์ถวาย เป็นพระยุคปลายตอนต้น พระเนื้อผงผสมเทียนชัยมักพบในพระยุคต้นมาก รองลงมาเป็นพระยุคกลาง ส่วนพระยุคปลายก็มีแต่พบจำนวนน้อย ในพระองค์นี้ได้พบก้อนศิลาธิคุณ ซึ่งเป็นมวลสารอย่างหนึ่งที่ท่านสมเด็จโตได้ใส่เอาไว้ในพระของท่านด้วย แต่จะไม่พบในพระของท่านทุกองค์ มีเฉพาะในบางองค์เท่านั้น จะยึดเป็นจุดฟันธงว่าทุกองค์ต้องมีไม่ได้.
วันจันทร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2566
วันเสาร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2566
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)